uniguiden.com

อาการ ผิด ปกติ หลัง ผ่า คลอด

September 8, 2022, 9:16 pm

ภาวะไข้หลังคลอด ภาวะไข้หลังคลอด (Postpartum fever) จะเกิดขึ้นในช่วง 2-10 วันหลังคลอด โดยผู้ป่วยจะมีไข้ขึ้นประมาณ 38-39 องศาเซลเซียส ส่วนมากมักมีสาเหตุมาจากการติดเชื้อบริเวณอุ้งเชิงกราน หรือที่อวัยวะสืบพันธุ์ 2. เต้านมอักเสบ อาการเต้านมอักเสบ (Breast Infection) เป็นความผิดปกติที่เกิดขึ้นได้ในหญิงที่เพิ่งคลอดบุตร โดยมักเกิดขึ้นหลังจากคลอดบุตรแล้ว 3-4 สัปดาห์ โดยจะสังเกตว่า เต้านมจะแดง มีเนื้อแข็งขึ้น รู้สึกปวดเจ็บเต้านม อาจเป็นข้างเดียว หรือเกิดขึ้นแค่บางตำแหน่งของเต้านม นอกจากนี้ยังอาจมีอาการไข้สูง รู้สึกหนาวสั่นได้ สำหรับสาเหตุที่ทำให้เกิดอาการเต้านมอักเสบ คือ เชื้อสแตปฟิโลคอคคัส ออเรียส (Staphylococcus aureus) ซึ่งส่งผ่านมาจากจมูก และคอทารกระหว่างที่มารดาให้นมบุตร 3. ภาวะเลือดไหลไม่หยุด ภาวะเลือดไหลไม่หยุด (Excessive bleeding) หลังคลอดบุตรจะเกิดขึ้นเป็นระยะเวลาสั้นๆ ในช่วง 2-6 สัปดาห์หลังคลอดบุตร โดยมักจะเกิดขึ้นทันทีหลังคลอดด้วยวิธีธรรมชาติ หรือผ่าคลอดด้านหน้ามดลูก (Cesarean section) อย่างไรก็ตาม ผู้หญิงที่มีภาวะเลือดไหลไม่หยุดก็ควรสังเกตว่า เลือดที่ไหลออกมามีปริมาณน้อยลงหรือไม่ หากเลือดยังมีปริมาณมาก สีแดงสด รู้สึกเจ็บ หรือปวดเกร็งท้องน้อยมากกว่า 3-4 วัน ก็ควรไปพบแพทย์ว่า อวัยวะสืบพันธุ์มีอาการบาดเจ็บ หรือติดเชื้อจนเลือดออกมากหรือไม่ 4.

13 คำถามยอดฮิตสำหรับคุณแม่หลังคลอด

  • เจ็บบริเวณแผลผ่าคลอด หลังผ่ามา 6เดือน จะมีอันตรายมั๊ยคะ | HD สุขภาพดี เริ่มต้นที่นี่
  • Anycast HDMI Dongle Wifi Display ต่อมือถือออกทีวีไร้สาย – TookDeeStore.Com
  • Bg ปทุม ยูไนเต็ด
  • รองเท้า ฟองน้ำ ภาษา เหนือ
  • กสร. ชวนรู้ - สำนักงานสวัสดิการและคุ้มครองแรงงานจังหวัดระยอง
  • บ้านจัดสรร อยุธยา หลัง โลตัส
  • Icenter สาขา g tower installation
  • Sandisk otg ราคา มือสอง
  • ความผิดปกติหลังคลอดมีอะไรบ้าง | HD สุขภาพดี เริ่มต้นที่นี่
  • 13 คำถามยอดฮิตสำหรับคุณแม่หลังคลอด

อาการหลังคลอด 10 อย่างที่คุณแม่ควรรู้ – WelB Snack

นอนคว่ำหนุนหมอนนิ่มๆ เมื่อมีอาการปวดมดลูกสามารถบรรเทาได้ด้วยการนอนคว่ำหนุนหมอนนิ่มๆ โดยให้ทำวันละครั้ง และทำครั้งละ 20 นาที ก็จะช่วยบรรเทาอาการปวดได้ดี ซึ่งวิธีนี้นั้นหากคลอดเองตามธรรมชาติจะสามารถทำได้ทันทีหลังคลอด แต่ถ้าผ่าคลอดควรรอให้แผลเริ่มสมานและหายเจ็บก่อน โดยจะอยู่ที่ประมาณ 7-10 วันนั่นเอง 2. ทานยาพาราเซตามอล หากมีอาการปวดมดลูกหลังคลอดมากจนแทบทนไม่ไหว คุณแม่สามารถทานยาพาราเซตามอลเพื่อบรรเทาอาการปวดได้ แต่ก็ไม่ควรทานมากเกินไป เพราะอาจส่งผลต่อลูกน้อยผ่านทางนมแม่ได้ 3. นอนตะแคงข้าง นอกจากการนอนคว่ำแล้ว การนอนตะแคงข้างก็จะช่วยบรรเทาอาการปวดได้ดีเช่นกัน ทั้งนี้อาจนอนตะแคงแล้วนำหมอนมาหนุนข้างหลังไว้อีกทีก็ได้ 4.

ผ่าคลอดคืออะไร? ข้อดี-ข้อเสีย ของการผ่าคลอดคืออะไร? | HDmall

ท้องผูก หรือปัสสาวะเล็ด ภาวะปัสสาวะเล็ด (Urinary incontinence) หลังคลอดก็เป็นอีกความผิดปกติที่เกิดขึ้นได้ทั่วไปหลังจากคลอดบุตร อาการนี้ไม่ใช่อาการอันตราย หรือบ่งบอกว่า ระบบขับถ่ายปัสสาวะมีปัญหา เพียงแต่ผู้ป่วยจะรู้สึกไม่สบายตัว เคลื่อนไหวร่างกายไม่คล่องตัวนัก 5. ติดเชื้อบริเวณแผลฝีเย็บ หลังจากคลอดบุตร แพทย์จะมีการเย็บปิดแผลบริเวณช่องคลอดซึ่งอาจส่งผลให้เกิดการติดเชื้อได้บริเวณที่เป็นแผลฝีเย็บ (Episiotomy infection) อาการที่บ่งบอกว่า เกิดการติดเชื้อได้แก่ ปากแผลเริ่มมีรอยคล้ำ มีหนองไหลออกมา รู้สึกปัสสาวะลำบาก และมีไข้ต่ำ โดยปกติการติดเชื้อบริเวณแผลฝีเย็บจะไม่เกิดขึ้น หากดูแลความสะอาดบริเวณแผลเป็นอย่างดี รวมถึงไม่สูบบุหรี่ ไม่ดื่มเครื่องดื่มที่มีแอลกอฮอล์ขณะพักฟื้นหลังคลอด และงดมีเพศสัมพันธ์ 6. ปวดเจ็บบริเวณแผลผ่าตัด สำหรับหญิงตั้งครรภ์ที่คลอดบุตรผ่านวิธีผ่าคลอด อาจรู้สึกปวดเจ็บที่แผลผ่าตัดได้ เนื่องจากแผลกำลังสมานตัวติดกันอีกครั้ง ทำให้ผิวของแผลเกิดการหดรั้ง สร้างความรู้สึกเจ็บปวดได้ นอกจากนี้ยังอาจมีอาการอักเสบบวมแดงร่วมด้วย 7.

เจ็บแผลผ่าคลอดจี๊ดๆ เช็คด่วน ผิดปกติหรือไม่ มีวิธีบรรเทาอาการอย่างไร - Konthong.com

น้ำคาวปลาต้องน้อยลง น้ำคาวปลาหรือเลือดจางๆ ที่ไหลออกมาทางช่องคลอดนั้น จะต้องออกมาน้อยลงเรื่อยๆ เช่น ในช่วงสามวันแรกสีอาจจะค่อนข้างแดงสด และวันต่อๆ มาก็จะจางลงเรื่อยๆ จนหมดไป เป็นอย่างไรกันบ้างคะกับความรู้ที่เรานำมาฝากกันในวันนี้ หากคุณมีอาการเหล่านี้ในช่วงหลังผ่าคลอด คุณแม่จะต้องแจ้งให้แพทย์เจ้าของไข้ทราบโดยด่วนเพื่อหาวิธีรักษาและป้องกันไม่ให้อาการรุกรามจนเป็นอันตรายได้ค่ะ

เจ็บบริเวณแผลผ่าคลอด หลังผ่ามา 6เดือน จะมีอันตรายมั๊ยคะ | HD สุขภาพดี เริ่มต้นที่นี่

More and more solutions about how can you grow up your baby. Feel free to contact us if any problems have occurred or have any questions you would like to know. Don't forget to follow and keep in touch with us on Facebook บทความน่ารู้ เพิ่มเติม คลิกเลย ….. 1. ตั้งครรภ์น้ำหนักลด ในช่วงไตรมาสแรก ผิดปกติหรือไม่ 2. รีวิว 7 แอพคนท้อง ที่คุณแม่ควรมี เพื่อการตั้งครรภ์คุณภาพ

ความผิดปกติหลังคลอดมีอะไรบ้าง | HD สุขภาพดี เริ่มต้นที่นี่

ครอบครัว Share: แม้การมีเพศสัมพันธ์หลังคลอดอาจเป็นเรื่องสุดท้ายที่คุณแม่จะคำนึงถึง เพราะต้องยุ่งวุ่นวายอยู่กับการดูแลเจ้าตัวเล็ก แต่เมื่อเริ่มเคยชินกับการเลี้ยงดูลูกและสามารถทำกิจวัตรประจำวันต่าง ๆ ได้ตามปกติแล้ว คุณแม่อาจมีข้อสงสัยว่าจะสามารถมีเพศสัมพันธ์อีกครั้งได้เมื่อไร และการมีเพศสัมพันธ์หลังคลอดจะเจ็บหรือจะปลอดภัยหรือไม่ ซึ่งการศึกษาข้อมูลต่อไปนี้จะช่วยไขข้อข้องใจของคุณแม่ได้ เริ่มมีเพศสัมพันธ์หลังคลอดได้เมื่อไร?

การผ่าคลอด มีกี่แบบ? ผ่าคลอด สัปดาห์ที่เท่าไหร่? กรณีไหนบ้างที่ควรผ่าคลอด? ต้องรอให้เจ็บท้องก่อนไหมจึงผ่าคลอด? การผ่าคลอด หรือการผ่าตัดคลอดบุตรทางหน้าท้อง (Cesarean section) คือ การผ่าตัดเปิดช่องท้องและผนังมดลูกของคุณแม่เพื่อนำทารกออกจากถุงน้ำคร่ำ จากนั้นแพทย์จะนำรกออกจากครรภ์ให้หมด แล้วจึงเย็บปิดมดลูกและหน้าท้องของคุณแม่ เป็นอันเสร็จสิ้นกระบวนการภายในเวลา 45 นาที - 1ชั่วโมง โดยปกติแล้ววิธีนี้จะเหมาะสมกับคุณแม่ที่แพทย์ผู้ดูแลลงความเห็นแล้วว่า การคลอดด้วยวิธีธรรมชาติ จะทำให้คุณแม่ หรือลูกมีความเสี่ยงมากเกินไปจึงจะแนะนำให้ใช้วิธีการผ่าตัดคลอด การผ่าคลอดส่วนมากจะมี 2 แบบ แต่ละแบบมีข้อดีและข้อเสียแตกต่างกันไป 1. การผ่าคลอดแนวขวาง หรือแนวบิกีนี่ที่มดลูกส่วนล่าง (Tranverse) การผ่าตัดแบบนี้จะมีบาดแผลแนวยาวตามรอยพับของหน้าท้องส่วนล่าง ทำให้เวลาขยับตัวจะเจ็บแผลไม่มาก ส่วนแผลเป็นที่เกิดขึ้นจะมีขนาดเล็กและมองเห็นไม่ชัดนัก ในเรื่องเทคนิคการผ่าวิธีนี้ใช้เวลานานกว่าปกติเพราะผ่าตัดได้ยากกว่า ต้องใช้อุปกรณ์ช่อยคลอดศีรษะทารกเพิ่มเติม จึงไม่เหมาะกับการผ่าตัดในกรณีฉุกเฉิน การผ่าวิธีนี้มีข้อจำกัดสำหรับผู้ที่มีพังผืดในช่องท้อง และไม่เหมาะหากต้องการผ่าตัดอวัยวะอื่นๆ ของคุณแม่ไปพร้อมๆ กัน อย่างไรก็ตาม การผ่าคลอดแนวขวางนั้นได้รับความนิยมมากกว่าการผ่าตัดในแนวตั้งที่จะกล่าวถึงต่อไป 2.

หลังการคลอดไม่ว่าจะเป็นคุณแม่คลอดเอง หรือผ่าคลอดจะต้องมีการลุกขึ้นขยับตัวบ้าง เดินบ้าง อย่านอนติดเตียงทั้งตอนอยู่ที่โรงพยาบาล หรือพักฟื้นที่บ้าน ร่างกายก็จะได้ฟื้นตัวได้เร็วขึ้น ไม่เกิดพังผืดบริเวณมดลูกอีกด้วย 2. ป้องกันตัวเองไม่ให้ร่างการตกอยู่ในภาวะขาดสารอาหารจากการคลอดลูกและให้นม จะต้องมีการทานอาหารที่มีประโยชน์ตามความต้องการของร่างกายเสมอ 3. หลังคลอดใหม่ๆ จะมีอาการเจ็บแผลผ่าคลอดจี๊ด ๆ ท้องผูก ขับถ่ายไม่สะดวก ห้ามเบ่งอุจจาระแรงๆ เด็ดขาด เพราะมีผลกระทบต่อแผลผ่าตัดหน้าท้องและมดลูก โดยแผลอาจเกิดการปริ ฉีกขาดจากแรงเบ่งได้ ซึ่งการดื่มน้ำเยอะๆ จะสามารถช่วยได้เช่นกัน 4. ปฏิบัติตามคำแนะนำของคุณหมอ ทั้งการดูแลแผล ทานยาเพื่อบรรเทาอาการเจ็บแผลผ่าคลอดจี๊ด ๆ ดูแลสุขภาพ รวมถึงการพักผ่อนที่เพียงพอ 5.

ต้องไม่มีไข้ ถ้าหากคุณแม่มีไข้ตัวร้อนขึ้นมา แสดงว่าร่างกายต้องมีอะไรที่ผิดปกติอยู่แล้วค่ะ เช่น แผลอักเสบ มดลูกข้างในอักเสบ แต่บางทีการที่มีนมคัดก็อาจมีไข้ต่ำๆ ได้เหมือนกันค่ะ 2. แผลต้องไม่อักเสบ ปกติแล้วแผลจะเจ็บน้อยลงเรื่อยๆ แต่บางทีวันที่เริ่มลุกเดินก็อาจจะเจ็บมากขึ้นบ้างก็ได้ สีของผิวหนังรอบๆ แผล ต้องดูเหมือนสีเนื้อปกติค่ะ ถ้าแผลเกิดบวมแดง เจ็บมากกว่าเก่าขึ้นมาแสดงว่าถึงคราวเคราะห์ สงสัยแผลจะอักเสบซะแล้วละค่ะ ปกติแล้วถ้ามีการอักเสบเกิดขึ้นก็มักจะเป็นในสามวันแรก หลังจากนี้ไปแล้วก็ไม่ค่อยจะมีปัญหาเกี่ยวกับแผลแล้วค่ะ 3. ต้องไม่เจ็บหรือปวดมดลูกมากขึ้น หลังการผ่าตัดใหม่ๆ มดลูกข้างในท้องน้อยจะบีบตัวแข็งเกร็ง ยิ่งบีบก็ยิ่งเจ็บค่ะ แต่ยิ่งบีบก็ยิ่งดีนะคะ เพราะสิ่งที่อันตรายที่สุด และเป็นสิ่งที่หมอสูติฯ กลัวกันมากที่สุดของการผ่าคลอดก็คือ การตกเลือดนั่นเองค่ะ มดลูกยิ่งบีบตัวเล็กลงวันละ 1 นิ้วมือ ยิ่งลูกกินนมแม่มดลูกก็จะยิ่งเข้าอู่เร็ว คุณแม่จะสังเกตได้เลยว่าตอนลูกดูดนม มดลูกจะบีบตัวเจ็บมากขึ้นกว่าปกติ ภายใน 14 วันมดลูกก็จะเล็กลงจนหดเข้าไปในอุ้งเชิงกรานคลำหาไม่เจอทางหน้าท้องแล้วค่ะ ที่คลำเจอก็จะเป็นไขมันส่วนเกินที่เหลืออยู่ไว้ให้กลุ้มใจ 4.

โดยปกติน้ำคาวปลาจะค่อย ๆ มีสีจางลงและหมดภายในระยะเวลาประมาณ 7 – 14 วัน ทั้งนี้ในบางรายอาจมีน้ำคาวปลาได้นานถึง 6 สัปดาห์ แต่หากคุณแม่มีน้ำคาวปลานานผิดปกติ มีสีแดงไม่จางลง หรือมีอาการปวดท้องน้อยร่วมด้วยควรรีบปรึกษาสูติแพทย์ ถ้ามีตกขาวปนเลือดออกมาด้วย ถือว่าผิดปกติมั๊ย? หลังคลอดสารคัดหลั่งที่ออกมาจากช่องคลอดมักเป็นน้ำคาวปลา โดยช่วงแรกจะมีลักษณะเป็นเลือดแล้วจะค่อยๆมีสีจางลง ซึ่งปกติจะไม่มีกลิ่นเหม็น ไม่คัน ดังนั้นหากผิดไปจากนี้ควรรีบปรึกษาสูติแพทย์ ยาคุมกำเนิดชนิดใด ที่แม่ให้นมบุตรสามารถทานได้? ยาคุมกำเนิดชนิดรับประทานที่เหมาะกับคุณแม่ให้นมบุตรควรเป็นยาคุมกำเนิดที่มีเฉพาะฮอร์โมน Progestin ไม่ควรกินยาคุมกำเนิดชนิดฮอร์โมนรวมที่มี Estrogen รวมอยู่ เพราะจะมีผลค้างเคียงทำให้การผลิตน้ำนมลดลงได้ ดังนั้น แม่ควรขอรับคำปรึกษาจากแพทย์และเภสัชกร ก่อนใช้ยาคุมกำเนิด หลังคลอดแล้วหากจะทานยาคุมกำเนิดสามารถเริ่มทานได้เมื่อไร? สำหรับคุณแม่ให้นมบุตร สามารถกินยาคุมได้เมื่อ 6 สัปดาห์หลังคลอด เพราะหากรอให้ประจำเดือนมาแล้วค่อยกินยาคุม อาจเสี่ยงตั้งครรภ์หากระหว่างนั้นมีเพศสัมพันธ์แบบไม่ได้ป้องกัน อย่างไรก็ตาม คุณแม่สามารถเลือกวิธีคุมกำเนิดแบบอื่น ๆ ได้ เช่น ฉีดยาคุมกำเนิด ฝังยาคุมกำเนิด ใส่ห่วงคุมกำเนิด ใช้ถุงยางอนามัย โดยสามารถขอรับคำปรึกษาจากแพทย์ได้ หากลืมกินยาคุมกำเนิดติดกัน 3 วัน ควรทำอย่างไร?

เคลียร์ โน ส โฟม
ขนาด-ธง-มาตรฐาน