uniguiden.com

พระ สาสน โสภณ

September 8, 2022, 7:32 pm

ข้ามไปเนื้อหา จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี พระสาสนโสภณ (ใย ภทฺทิโย) เกิด 27 ธันวาคม พ. ศ. 2443 มรณภาพ 26 กรกฎาคม พ. 2541 อายุ 97 ปี 211 วัน พรรษา 59 วัด วัดเทพศิรินทราวาสราชวรวิหาร จังหวัด กรุงเทพมหานคร สังกัด ธรรมยุติกนิกาย วุฒิ นักธรรมชั้นโท เปรียญธรรม 4 ประโยค ตำแหน่ง ผู้ช่วยเจ้าอาวาสวัดเทพศิรินทราวาส รอง แม่กองบาลีสนามหลวง เจ้าคณะภาค 1-2-3 และ 12-13 (ธรรมยุต) ส่วนหนึ่งของ สารานุกรมพระพุทธศาสนา พระสาสนโสภณ ฉายา ภทฺทิโย (นามเดิม: ใย สุขสิงห์; 27 ธันวาคม พ. 2443 - 26 กรกฎาคม พ. 2541) เป็น พระราชาคณะเจ้าคณะรอง ฝ่าย ธรรมยุติกนิกาย เคยดำรงตำแหน่งสำคัญ เช่น ผู้ช่วยเจ้าอาวาส วัดเทพศิรินทราวาสราชวรวิหาร รอง แม่กองบาลีสนามหลวง และ เจ้าคณะภาค 1-2-3 และ 12-13 (ธรรมยุต) ประวัติ [ แก้] ชาติกำเนิด [ แก้] พระสาสนโสภณ มีนามเดิมว่า ใย สุขสิงห์ เกิดเมื่อวันพฤหัสบดีที่ 27 ธันวาคม พ. 2443 ตรงกับวันขึ้น 7 ค่ำ เดือนยี่ ปีชวด เป็นบุตรของนายอวบ-นางหยาด สุขสิงห์ ชาติภูมิอยู่ที่ตำบลบางสระเก้า อำเภอแหลมสิงห์ จังหวัดจันทบุรี [1] อุปสมบท [ แก้] นายใย สุขสิงห์ ได้บรรพชาเป็นสามเณรเมื่อวันอาทิตย์ที่ 14 กรกฎาคม พ. 2461 โดยมี พระธรรมไตรโลกาจารย์ (เจริญ ญาณวโร) วัดเทพศิรินทราวาส เป็นพระอุปัชฌาย์ [1] ต่อมาในวันพุธที่ 26 พฤษภาคม พ.

  1. พระสาสนโสภณ โกศล สิรินฺธโร
  2. พระสาสนโสภณ (ใย ภทฺทิโย ป.ธ.๔) | พระสังฆาธิการ
  3. พระสาสนโสภณ
  4. พระสาสนโสภณ วัดโสมนัสวิหาร - YouTube
  5. พระสาสนโสภณ วัดมกุฏกษัตริยาราม - วันจันทร์ที่ 18 พ.ค.2563 น้อมรำลึกครบรอบ

พระสาสนโสภณ โกศล สิรินฺธโร

พระสาสนโสภณ

ทั่วไป 09 ต. ค. 2563 เวลา 19:20 น. 2. 6k "พระสาสนโสภณ" หรือ หลวงพ่อใหญ่ พระราชาคณะฯ เจ้าอาวาสวัดสุทธจินดาวรวิหาร มรณภาพสิริอายุ 96 ปี เมื่อเวลา 11. 49 น. วันที่ 9 ตุลาคม พระสาสนโสภณ หรือหลวงพ่อใหญ่ (โกศล สิรินฺธโร) เจ้าอาวาสวัดสุทธจินดาวรวิหาร ต. ในเมือง อ. เมือง จ. นครราชสีมา ที่ปรึกษาเจ้าคณะภาค 8 (ธรรมยุต) พระราชาคณะเจ้าคณะรองชั้นหิรัญบัฏในพระราชทินนาม ได้มรณภาพด้วยอาการอาพาธโรคชราภาพ ที่โรงพยาบาลมหาราช นครราชสีมา 76 พรรษา รวมสิริอายุ 96 ปี บรรดาญาติโยมเศร้าโศกเสียใจ สูญเสียพระเกจิอาจารย์ที่มีวัตรปฏิบัติงดงาม เรียบง่าย สมถะ บรรดาศิษยานุศิษย์ พระภิกษุ-สามเณรได้ช่วยกันทำความสะอาดและปรับปรุงพื้นที่ชั้น 2 บนศาลาการเปรียญ เพื่อเตรียมตั้งบำเพ็ญกุศลศพตามประเพณี พระสาสนโสภณ หรือหลวงพ่อใหญ่ นามเดิม โกศล โพธิ์งาม ฉายา สิรินฺธโร ( 30 มิถุนายน พ. ศ. 2467) เกิดเมื่อวันจันทร์ แรม 14 ค่ำ เดือน 7 ปี ชวด ตรงกับวันที่ 30 มิถุนายน พ. 2467 บิดาชื่อนายสอน โพธิ์งาม มารดาชื่อนางสงค์ โพธิ์งาม ที่บ้านระเวียง หมู่ที่ 14 ตำบลเบิด อำเภอรัตนบุรี จังหวัดสุรินทร์ บรรพชาที่วัดสุทธจินดาวรวิหาร เมื่อวันที่ 20 กรกฎาคม พ.

พระสาสนโสภณ (ใย ภทฺทิโย ป.ธ.๔) | พระสังฆาธิการ

2522 เป็น พระราชาคณะชั้นธรรม ที่ พระธรรมโสภณ วิมลศีลาจาร ตรีปิฎกาลังการ ศาสนภารธุราทร ยติคณิสสร บวรสังฆาราม คามวาสี [6] พ. 2539 เป็น พระราชาคณะเจ้าคณะรอง ที่ พระสาสนโสภณ สุวิมลญาณเวที อรรถการีสังฆกิจจาทร ภัททิยคุณากรธรรมคุณ วุฒิวิบูลบริหารโกวิท ธรรมยุติกคณิสสร บวรสังฆาราม คามวาสี [7] มรณภาพ [ แก้] พระสาสณโสภณ ถึงแก่มรณภาพด้วยโรคชรา เมื่อวันอาทิตย์ที่ 26 กรกฎาคม พ. 2541 ณ โรงพยาบาลหัวเฉียว สิริอายุได้ 98 ปี พรรษา 78 และได้รับพระราชทานเพลิงศพ ณ เมรุหลวง หน้าพลับอิศริยาภรณ์ วัดเทพศิรินทราวาส เมื่อวันที่ 16 มกราคม พ. 2542 [1] อ้างอิง [ แก้] เชิงอรรถ ↑ 1. 0 1. 1 1. 2 1.

  1. ประวัติ พระสาสนโสภณ (พิจิตร ฐิตวณฺโณ)
  2. คลินิกหมอสมคิด (Dr. Somkid Clinic) ชลบุรี  - แผนที่ รีวิว บทความ โปรโมชั่น | PaiNaiDii.com
  3. ภาษาจีน - OK Plus rayong | OK Plus rayong
  4. ประโยชน์ของกระเพาปลา ความรู้สุขภาพและสมุนไพร เกี่ยวกับเรื่องนี้ มีอะไรบ้าง
  5. ซี รี่ vagabonds
  6. ทำความรู้จักกับรถไฟตู้นอน JR Hokkaido Night Train ทั้ง 4 ขบวน | เที่ยวญี่ปุ่น ดอทคอม
  7. สรยุทธ เครียดหนัก! ขอคำปรึกษาชาวเน็ต หลังเจอปัญหาที่หาทางออกไม่ได้
  8. พระสาสนโสภณ (โกศล สิรินธโร) วัดสุทธจินดา อ.เมือง จ.นครราชสีมา
  9. เทศบาล ตำบล ตะกาง
  10. *** วัตถุมงคล รวม หลายพระคณาจารย์ 4 *** | หน้า 51 | พลังจิต
  11. หวย ออก มกราคม 63 marina t 67
  12. โปรแกรม captivate 8 скачать

พระสาสนโสภณ

เกาะติดข่าว กดติดตาม ข่าวสด พระสาสนโสภณ วัดมกุฏกษัตริยาราม – วันจันทร์ที่ 18 พ. ค. 2563 น้อมรำลึกครบรอบ 145 ปี ชาตกาล "พระสาสนโสภณ" (แจ่ม จัตตสัลโล) พระคณาจารย์เอกแห่งกรุงรัตนโกสินทร์ ดำรงตำแหน่งสำคัญ อาทิ เจ้าอาวาสวัดมกุฏกษัตริยาราม กรรมการมหาเถรสมาคม รองประธานสังฆสภา และแม่กองธรรมสนามหลวงรูปแรก เกิดเมื่อวันอังคารที่ 18 พ. 2418 เวลา 07. 30 น. ตรงกับวันขึ้น 14 ค่ำ เดือน 6 ปีกุน เป็นบุตรนายพ่วงกับนางเอี่ยม บิดาเป็นมหาดเล็กในพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ภูมิลำเนาเดิมอยู่บ้านตำหนัก อ. เมือง จ. เพชรบุรี สมัยเป็นเด็กมักเป็นจ่าฝูงในหมู่เพื่อน จึงมีนามเดิมว่าจ่า ภายหลังชื่อแปลก เพราะมักเล่นอะไรแปลก เมื่อโตขึ้นได้เรียนหนังสือที่วัดสนามพราหมณ์ ท่านมีน้องชายคนหนึ่งชื่อจอน ซึ่งได้รับราชการจนมีบรรดาศักดิ์เป็นรองอำมาตย์เอก ขุนประสารพันธุกิจ ผู้ช่วยเกษตรมณฑลพิษณุโลก ต่อมาได้รับพระราชทานนามสกุลว่า ถาวรบุตต์ พ. ศ. 2435 ย้ายมาศึกษากับพระครูวินัยธรแสง ฐานานุกรมของพระพรหมมุนี (แฟง กิตติสาโร) ที่วัดมกุฏกษัตริยาราม แล้วบรรพชาเป็นสามเณรในวันข้างขึ้นเดือน 7 ปีนั้นขณะเป็นสามเณรเปลี่ยนชื่อเป็นแจ่ม ต่อมาเข้าพิธีอุปสมบทเมื่อวันพุธที่ 19 มิ.

พระสาสนโสภณ (พิจิตร ฐิตวณุโณ) - YouTube

พระสาสนโสภณ วัดโสมนัสวิหาร - YouTube

ข้ามไปเนื้อหา จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี ท่านเจ้าประคุณ สมเด็จพระมหามุนีวงศ์ (พิจิตร ิตวณฺโณ) เกิด 24 มิถุนายน พ. ศ. 2479 อายุ 85 อุปสมบท 6 มิถุนายน พ. 2499 พรรษา 65 วัด วัดโสมนัสราชวรวิหาร จังหวัด แขวงวัดโสมนัส เขตป้อมปราบศัตรูพ่าย กรุงเทพมหานคร สังกัด ธรรมยุติกนิกาย วุฒิ นักธรรมชั้นเอก เปรียญธรรม 9 ประโยค M. A. (วรรณคดีสันสกฤต) ตำแหน่ง ที่ปรึกษา เจ้าคณะภาค 16-17-18 (ธรรมยุต) รองอธิการบดีฝ่ายกิจการต่างประเทศ มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย เจ้าอาวาส วัดโสมนัสราชวรวิหาร ส่วนหนึ่งของ สารานุกรมพระพุทธศาสนา สมเด็จพระมหามุนีวงศ์ นามเดิม พิจิตร ถาวรสุวรรณ ฉายา ิตวณฺโณ วิทยฐานะ ป. ธ. 9, นธ. เอก. เป็น สมเด็จพระราชาคณะ ฝ่าย ธรรมยุติกนิกาย เจ้าอาวาส วัดโสมนัสราชวรวิหาร ที่ปรึกษา มหาเถรสมาคม [1] อดีต เจ้าคณะภาค 16-17-18 (ธรรมยุต) ประวัติ [ แก้] ชาติภูมิ [ แก้] สมเด็จพระมหามุนีวงศ์ นามเดิมว่า พิจิตร ถาวรสุวรรณ เป็นบุตรคนโต ในจำนวนบุตร 9 คน ของนายแก้ว และนางโผ้เลี่ยน ถาวรสุวรรณ เกิดเมื่อวันที่ 24 มิถุนายน พ.

2496 โดยสมเด็จพระวันรัต (จับ ฐิตธมฺโม) ขณะยังเป็นพระอมรมุนี เป็นพระอุปัชฌาย์ และพระวินัยวงศ์เวที (พวง ธมฺมธโร) เป็นพระศีลาจารย์ และได้ตั้งใจศึกษาเล่าเรียนจนสอบได้เปรียญธรรม 3 ประโยค และนักธรรมชั้นเอกตั้งแต่เป็นสามเณร เมื่ออายุได้ 20 ปีบริบูรณ์ จึงได้อุปสมบท ณ วัดโสมนัสวิหาร เมื่อวันที่ 6 มิถุนายน พ. 2499 โดยมีสมเด็จพระวันรัต (จับ ฐิตธมฺโม) ในสมัยที่ยังเป็นพระราชาคณะชั้นเทพที่พระอมรมุนี เป็นพระอุปัชฌาย์ และพระราชกวี (อ่ำ ธมฺมทตฺโต) เป็นพระกรรมวาจาจารย์ การศึกษา พ. 2499 - สอบได้เปรียญธรรม 3 ประโยค และนักธรรมชั้นเอก พ. 2500 – สอบได้เปรียญธรรม 4 ประโยค และทรงจำปาฏิโมกข์ได้ พ. 2501- สอบได้เปรียญธรรม 5 ประโยค พ. 2503- สอบได้เปรียญธรรม 6 ประโยค พ. 2505 - สอบได้เปรียญธรรม 7 ประโยค พ. 2509- สอบได้เปรียญธรรม 8 ประโยค และจบปริญญาศาสนศาสตรบัณฑิต (ศน. บ. ) เกียรตินิยมอันดับ 2 จากมหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย พ. 2511- ได้รับประกาศนียบัตรชั้นสูง จากสำนักฝึกอบรมพระธรรมทูตไปต่างประเทศ (พ. ธ. ต. ) พ. 2512- สอบชิงทุนการศึกษาของสภามหามกุฏราชวิทยาลัย เพื่อไปศึกษาระดับปริญญาโทในประเทศอินเดีย และได้ทุนศึกษาขั้นปริญญาโท สาขาวรรณคดีสันสกฤต แล้วได้เดินทางไปศึกษาต่อที่มหาวิทยาลัยพาราณสี (B. H. U. )

พระสาสนโสภณ วัดมกุฏกษัตริยาราม - วันจันทร์ที่ 18 พ.ค.2563 น้อมรำลึกครบรอบ

ย. 2438 มี พระพรหมมุนี (แฟง กิตติสาโร) ขณะยังเป็นพระธรรมปาโมกข์ เป็นพระอุปัชฌาย์, พระราชกวี (ถม วราสโย) และ พระมหานุนายก (ดี มนาปจารี) ขณะยังเป็นพระครูปลัด เป็นคู่กรรมวาจาจารย์ ได้ฉายาว่า จัตตสัลโล ขณะอยู่วัดมกุฏกษัตริยาราม ศึกษาพระปริยัติธรรมจากพระมหาทองอยู่ (ป. ธ. 7) พรรษาที่ 2 จึงย้ายไปอยู่วัดบวรนิเวศราชวรวิหาร เพื่อศึกษากับพระยาวิจิตรธรรมปริวัตร (ดำ) ขณะยังเป็นพระศาสนดิลก เข้าสอบในหลักสูตรของมหามกุฏราชวิทยาลัยในปีพ. 2440 สอบได้เปรียญธรรม 4 ประโยค พ. 2441 สอบได้เปรียญธรรม 5 ประโยค พ. 2442 สอบได้เปรียญธรรม 7 ประโยค ก่อนกลับไปอยู่วัดมกุฏกษัตริยารามดังเดิม วันที่ 9 พฤศจิกายน ร. 118 ได้รับพระราชทานพัดพื้นโหมดสำหรับวุฒิบาเรียนเอก นับแต่ย้ายกลับมาอยู่วัดมกุฏกษัตริยาราม ทำหน้าที่ครูสอนพระปริยัติธรรม ต่อมาเป็นกรรมการในการสอบบาลีสนามหลวง กรรมการมหามกุฏราชวิทยาลัย และกรรมการมหาเถรสมาคม เมื่อมีการประกาศใช้พระราชบัญญัติคณะสงฆ์ พ. 2484 ท่านได้รับเลือกเป็นสมาชิกสังฆสภา และสุดท้ายเป็นรองประธานสังฆสภา พ. 2471 คณะสงฆ์จัดให้มีการสอบธรรมสนามหลวงทั่วราชอาณาจักรเป็นครั้งแรก โดยมีแม่กองธรรมสนามหลวงเป็นผู้ดำเนินการจัดการสอบตั้งแต่ครั้งนั้นเป็นต้นมา และมีพระเถระที่ได้รับแต่งตั้งให้เป็นแม่กองธรรมสนามหลวงสืบมาตามลำดับ ได้รับแต่งตั้งเป็นแม่กองธรรมสนามหลวงเป็น ครั้งแรก ดำรงตำแหน่งถึงพ.

2514 เป็นพระอุปัชฌาย์ คณะธรรมยุต พ. 2519 เป็นเจ้าอาวาสวัดสุทธจินดาวรวิหาร พ. 2519 เป็นรองเจ้าคณะภาค 10 (ธรรมยุต) พ. 2528 เป็นรองเจ้าคณะภาค 11 (ธรรมยุต) พ. 2542 เป็นเจ้าคณะภาค 8 (ธรรมยุต) พ. 2547 เป็นที่ปรึกษาเจ้าคณะภาค 8 (ธรรมยุต) ลำดับสมณศักดิ์ พ. 2487 เป็นพระมหาโกศล สิรินฺธโร ป. ธ. 4 พ. 2501 รับพระราชทานสมณศักดิ์เป็นพระครูสัญญาบัตรที่ พระครูสุนทรธรรมโกศล พ. 2510 รับพระราชทานสมณศักดิ์เป็นพระราชาคณะชั้นสามัญที่ พระศรีธรรมวงศาจารย์ บริหารสีมาคณานุกิจ ธรรมิกคณิสสร พ. 2521 รับพระราชทานสมณศักดิ์เป็นพระราชาคณะชั้นราชที่ พระราชพิศาลสุธี ศรีปริยัติคุณาภรณ์ ยติคณิสสร บวรสังฆาราม คามวาสี พ. 2534 รับพระราชทานสมณศักดิ์เป็นพระราชาคณะชั้นเทพที่ พระเทพวราลังการ วิสุทธิญาณโสภิต ปริยัติกิจคุณาภรณ์ ยติคณิสสร บวรสังฆาราม คามวาสี พ. 2539 รับพระราชทานสมณศักดิ์เป็นพระราชาคณะชั้นธรรมที่ พระธรรมโสภณ โกศลปริยัติกิจ โสภิตตรีปิฎกภาณ วิศาลสังฆการนุกร ยติคณิสสร บวรสังฆาราม คามวาสี 28 กรกฎาคม พ. 2562 ได้รับสถาปนาขึ้นเป็นพระราชาคณะเจ้าคณะรอง ชั้นหิรัญบัฏ ที่ พระสาสนโสภณ โกศลวิมลญาณอดุล สุนทรปริยัติกิจ โสภิตตรีปิฎกภาณ วิศาลสังฆการนุกร ธรรมยุตติกคณิสสร บวรสังฆาราม คามวาสี

00 น. วันต่อมามีเลือดออกอีก จึงต้องผ่าตัดกระเพาะอาหาร และมีโรคหัวใจและโรคปอดแทรกซ้อน จนท่านไม่รู้สึกตัวและถึงแก่มรณภาพเนื่องจาก กล้ามเนื้อหัวใจตายเหตุขาดเลือด ในวันที่ 29 กรกฎาคม เวลา 08. 05 น. สิริอายุได้ 78 ปี 229 วัน ศพตั้งบำเพ็ญกุศล ณ ศาลากวีนิรมิต และได้รับพระราชทานโกศแปดเหลี่ยมประกอบศพในวันที่ 30 กรกฎาคม วันพุธที่ 8 พฤศจิกายน พ.

  1. เย ด ม ปลาย pdf
  2. โครงการ บ้าน ประชาอุทิศ
  3. ที่ดันหลัง
  4. กุ้งขาวสด
  5. หลานจอมเวท
  6. รองเท้า chaco made in usa
  7. ลํา โพ ง โทรศัพท์ เสียง เบา ๆ
  8. Yaesu fh 912 ราคา 2564
แร-น-ดอม-อาหาร